Mind Mapping
web เชื่อมโยงกลุ่มสาระวิชา
หน่วย “ว่าว”
คำถามหลัก : ว่าวมีความสำคัญและสัมพันธ์ต่อวิถีชีวิตคนเราอย่างไร?
ภูมิหลัง
ว่าวเป็นสิ่งประดิษฐ์ขึ้นเพื่อความบันเทิงเป็นที่นิยมเล่นเกือบทุกชาติเป็นเวลานานมาแล้ว แต่ไม่ทราบแน่ชัดว่ามีขึ้นเมื่อใดใครเป็นคนคิด การเล่นว่าวในปัจจุบันนิยมเล่นในกันในฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยเฉพาะในอดีตยังมีการเล่นว่าวดุ๊ยดุ่ยในฤดูหนาวตอนกลางคืน เพื่อฟังเสียงดนตรีจากใบสะนูยามต้องลมบนเวลาที่อยู่ยามเฝ้าท้องไร้ท้องนา อีกทั้งการประดิษฐ์ว่าวเป็นสิ่งที่บ่งบอกภูมิปัญญาคนไทยในอดีต แต่ในปัจจุบันนี้เด็กรุ่นหลังกลับไม่ได้ให้ความสนใจกับภูมิปัญญาการประดิษฐ์ว่าว เนื่องจากปัจจัยหลายๆอย่าง ทั้งทางด้านเวลา พื้นที่ สภาพอากาศ การจัดเตรียมอุปกรณ์ และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัยต่างๆ ในรูปแบบของเกมดิจิตอล ของเล่นสำเร็จรูปที่มีสีสันน่าสนใจ ง่ายต่อการเล่น ซึ่งภูมิปัญญาการทำว่าวจึงกำลังประสบปัญหาการสืบทอดและเสี่ยงต่อการสูญหายในอนาคต
ดังนั้นจึงจำเป็นที่พี่ๆ ป.5 จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการประดิษฐ์ว่าว เพื่อที่จะเข้าใจภูมิปัญญาไทย มองเห็นเห็นคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นด้วยความเคารพ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย :ว.ว่าวแล่นลม
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ภาคเรียนที่ 2/2559 Quarter 3
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พละศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อโครงงาน
-
สิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
(ว 8.1/ป.5/1)
- บันทึกสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ
และโฆษณา ตามความเข้าใจของตนเองและสามารถอธิบายได้
(ว 8.1 ป.5/4)
- สามารถตั้งคำถามจากข่าวหรือบทความที่ได้อ่านและได้ฟังได้
(ว 8.1ป.5/5)
-สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกันจากข่าวหรือบทความที่ได้อ่านหรือฟังได้อย่างสมเหตุ
สมผล (ว 8.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน ส 5.2
อธิบายอิทธิพลของธรรมชาติที่ทำให้วิถีชีวิตของมนุษย์เปลี่ยน
ไปเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับตนเอง
(ส 5.2 ป.5/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
อธิบายความแตกต่างของสื่อและเทคโนโลยีในอดีตกับปัจจุบันได้อย่างสมเหตุ
สมผล
(ส 4.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ส 4.2
สามารถอธิบายอิทธิพลที่มาพร้อมกับสื่อที่ส่งผลสู่ตัวเราได้
(ส 4.2 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาทในการฟังและยอมรับฟังความคิดเห็นและความเชื่อที่แตกต่างในการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ร่วมกันได้
(ส 2.1 ป.5/1)
- เคารพมองเห็นคุณค่าและความ
สำคัญของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน (ส 2.1 ป.5/3)
มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและแสดง
ออกความคิดเห็นของตนเองได้
(ส 2.1ป.5/4)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน
(3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจ
-กรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องเหมาะสม
(ง 1.1 ป.5/1)
-สามรถทำงานร่วมกับผู้อื่น
พร้อมกับยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นตลอดเวลาในการทำงานกลุ่มได้
(ง 1.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ง 2.1
-สามารถอธิบาย
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
(ง 2.1 ป.5/1)
-สามารถเลือกรับสื่อที่มีประโยชน์และนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้
อย่างสร้างสรรค์ และเหมาะสมได้
(ง 2.1 ป.5/3)
|
มาตรฐาน พ 1.1
- วางแผนและดูแลสุขภาพตามภาวะ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเอง
(พ 1.1 ม.1/3)
- แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย
(พ 1.1 ม.1 /4)
มาตรฐาน พ 2.1
เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่นได้
(พ 2.1 ป.6
/1)
มาตรฐาน พ 3.1
- ควบคุมการเคลื่อน
ไหวในเรื่องการับแรง
การใช้แรงและความสมดุลในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันและการเล่นกีฬา
(พ 3.1 ป.5/1,3,5)
มาตรฐาน พ 4.1
- แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
(พ 4.1 ป.5/1)
- ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
(พ 4.1 ป.5/2)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี (ศ 1.1 ป.5/3) - ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ 1.1 ป.5/6) - บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ 1.1 ป.5/7)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการของรูป
และพื้นที่ว่าง (ศ 1.1 ป.6/5)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พละศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
ประวัติความเป็นมาของว่าว/ประเภทของว่าว
- นำเสนอ Time
line ประวัติความเป็นมาของว่าว/ประเภทของว่าว
|
มาตรฐาน
ว1.1
- สังเกตและอธิบายประวัติความเป็นมาของว่าวแต่ละชนิดได้
(ว 1.1 ป.5/1) มาตรฐาน ว 1.2 อธิบายและจำแนกลักษณะของว่าวแต่ละชนิดได้ ( ว 1.2 ป.5/5)
มาตรฐาน
ว 2.1
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายความ
สัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
(ว 2.1 ป6/3)
มาตรฐาน ว 3.1สามารถค้นหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้
( ว 3.1ป.5/2)มาตรฐาน ว 4.1
- ทดลองและอธิบายแรงที่กระทำต่อว่าว
( ว 4.1ป5/3)
- ทดลองและอธิบายระยะทาง และความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ
( ว4.1 ม1/2)
มาตรฐาน
ว 4.2
ทดลองและอธิบายแรงฉุด แรงดึง แรงยก
แรงโน้มถ่วงและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
( ว4.2 ป5/1)
มาตรฐาน
ว 6.1
ทดลองและอธิบายการเกิดลมและนำความเข้าใจไปปรับใช้( ว6.1 ป5/4)
มาตรฐาน ว8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้รับมาและใช้เหตุผลได้อย่างเหมาะสม ( ว 8.1 ป.5/1) - สามารถเลือกรับสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ ( ว 8.1 ป.5/3)
- บันทึกข้อมูลในเชิงคุณภาพและตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้นำเสนอข้อสรุป
( ว 8.1 ป5/4)
- สามารถอธิบายกระบวนการทำงานและนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าสร้างสรรค์ |
มาตรฐาน ส 1.1
เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่ดี ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากสื่อสร้างสรรค์ ( ส 1.1ป.5/3) |
มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถค้นหาข้อมูลประวัติความเป็นมาของว่าวแต่ละชนิดได้จากแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลายได้ ( ส 4.1 ป.5/1) - สามารถนำความเข้าใจจากการค้นหาข้อมูลมาอธิบาย ประวัติความเป็นมาของว่าวแต่ละชนิดได้ อย่างเหมาะสม ( ส 4.1 ป.5/2) - อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับความเท็จเกี่ยวกับเรื่องราวประวัติความเป็นมาของว่าวแต่ละชนิดได้ ( ส 4.1 ป.5/3) มาตรฐาน ส 4.3 อธิบายพัฒนาการความเปลี่ยนแปลงของประวัติความ
เป็นมาของว่าวแต่ละชนิดอดีตถึงปัจจุบัน ได้อย่างเหมาะสม
( ส 4.3 ป.5/1) |
มาตรฐาน ส 2.1
สามารถเสนอวิธีการปกป้องตนเองและผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิต่างๆ จากการใช้สื่อโฆษณาอย่างเหมาะสม( ส 2.1ป.5/2)
มาตรฐาน ส 2.2
วิเคราะห์สังเคราะห์ประโยชน์และโทษ ที่ ตนเองและสังคม ได้จากสื่อ ( ส 2.2 ป.5/3 )
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- สามารถอธิบายกระบวนการทำงานที่รับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง ( ง 1.1 ป.5/1)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งสมาชิกในกลุ่มและสมาชิกในชั้น
( ง 1.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยี ในชีวิตประจำวันได้อย่างสร้างสรรค์และเหมาะสม
( ง 2.1 ป.5/5) |
มาตรฐาน พ 1.1
- วางแผนและดูแลสุขภาพตามภาวะ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเอง
(พ 1.1 ม.1/3)
- แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย
(พ 1.1 ม.1 /4)
มาตรฐาน
พ 2.1สามารถระบุพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์และไม่พึ่งประสงค์ตลอดจน
การแก้ปัญหาความขัดแย้งในการทำงานเป็นกลุ่มได้
( พ 2.1 ป.5/3)
เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่นได้
(พ 2.1 ป.6
/1)
มาตรฐาน พ 3.1
- ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่องการับแรง
การใช้แรงและความสมดุลในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันและการเล่นกีฬา
(พ 3.1 ป.5/1,3,5)
มาตรฐาน พ 4.1
- แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
(พ 4.1 ป.5/1)
- ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
(พ 4.1 ป.5/2)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
- อธิบายเกี่ยวกับตำแหน่งบุคคลหรือสิ่งของที่ปรากฏในสื่อต่างๆได้อย่างเหมาะสม ( ศ 1.1 ป.5/1) - วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแรง เงา น้ำหนัก และวรรณะสีในการทำงานได้ ( ศ 1.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ศ 2.1
สามารถเลือกดนตรีประกอบในการใช้สร้างละคร เพื่อสื่อถึงอารมณ์ของการแสดง ( ศ 2.2ป.5/1)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2 ลักษณะ ในการแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการ
(ง 2.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ง 3.1
- ค้นหา
รวบรวมข้อมูลที่สนใจและประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
ที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง 3.1 ป.5/1)
- บอกหลักการเบื้องต้นของการแก้ไขปัญหา
(ง 3.1 ป.6/1)
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
(ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ
แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ 1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ 3.1 ม.1/3)
- ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
- เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
- เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฎศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ
(ศ 3.1 ม.2/5)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ 3.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือกาชมการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
(ศ 3.2 ป.6/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พละศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
ออกแบบและประดิษฐ์ว่าว
- องค์ประกอบที่ทำให้ว่าวลอยได้
- เรียนรู้การทำสนูว่าวจากวิทยากร
- การทำว่าว
|
มาตรฐาน
ว 2.1
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
(ว 2.1 ป6/3)
มาตรฐาน ว 3.1
สามารถค้นหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้ ( ว 3.1ป.5/2)
มาตรฐาน
ว 4.1
- ทดลองการหาแรงที่กระทำต่อวัตถุซึ่งอยู่ในแนวเดียวกัน
( ว 4.1 ป5/1)
มาตรฐาน
ว 4.1
- ทดลองและอธิบายแรงที่กระทำต่อว่าว ( ว 4.1ป5/3)
- ทดลองและอธิบายระยะทาง และความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ( ว4.1
ม1/2)
มาตรฐาน
ว 4.2
ทดลองและอธิบายแรงฉุด แรงดึง แรงยก แรงโน้มถ่วงและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
( ว4.2 ป5/1)
มาตรฐาน
ว 6.1
ทดลองและอธิบายการเกิดลมและนำความเข้าใจไปปรับใช้
( ว6.1 ป5/4)
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้รับมาและใช้เหตุผลได้อย่างเหมาะสม ( ว 8.1 ป.5/1) - สามารถเลือกรับสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ ( ว 8.1 ป.5/3)
-
บันทึกข้อมูลในเชิงคุณภาพและตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้นำเสนอข้อสรุป
( ว 8.1 ป5/4)
- สามารถอธิบายกระบวนการทำงานและนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าสร้างสรรค์ |
มาตรฐาน ส 1.1
- ปฏิบัติตนตามศาสนาที่นับถือเพื่อพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
( ส1.1 ป5/7)
-
วิเคราะห์การกระทำของบุคคลที่เป็นแบบอย่างและนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเอง
( ส1.1 ม1/11)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- สืบค้นความเป็นมาของสื่อในท้องถิ่นจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ( ส 4.1 ป.5/1) - สามารถนำข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับองค์ประกอบที่ทำให้ว่าวลอยได้
ได้อย่างมีเหตุผล
( ส 4.1ป.5/2)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตาม สถานภาพ บทบาท สิทธิและเสรีภาพ และหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี
( ส 2.1 ป.5/1)
- เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตในสังคมไทย
( ส2.1 ป.5/3)มาตรฐาน
ส 2.2
สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากสื่อนำมาปรับใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวันได้
( ส 2.2 ป.5/3)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
|
มาตรฐาน ง1.1
- ใช้ทักษะการจัดการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง 1.1 ป5 /2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงาน (ง 1.1 ป5/3)
- อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
(ง 1.1 ป6
/1 )
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
(ง 1.1 ม1
/2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล (ง 1.1 ม1 /3 )
- มีทักษกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม4 /4 )
- สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล(ง1.1 ม1/3)
มาตรฐาน ง 2.1
เข้าใจและสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสรรค์และไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม
(ง 2.1ม2/4)
มาตรฐาน ง 3.1
ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจ และเป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูล ที่หลากหลายได้ ( ง 3.1 ป.5/1) |
มาตรฐาน พ 1.1
- วางแผนและดูแลสุขภาพตามภาวะ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเอง
(พ 1.1 ม.1/3)
- แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย
(พ 1.1 ม.1 /4)
มาตรฐาน พ 2.1
สามารถระบุพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์และไม่พึ่งประสงค์ตลอดจน การแก้ปัญหาความขัดแย้งในการทำงานเป็นกลุ่มได้ ( พ 2.1 ป.5/3)
เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่นได้
(พ 2.1 ป.6
/1)
มาตรฐาน พ 3.1
- ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่องการับแรง การใช้แรงและความสมดุลในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันและการเล่นกีฬา
(พ 3.1 ป.5/1,3,5)
มาตรฐาน พ 4.1
- แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
(พ 4.1 ป.5/1)
- ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
(พ 4.1 ป.5/2)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
- สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการที่แตกต่างกัน ( ศ 1.1 ป.5/2) - วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนักและ วรรณะสี ในชิ้นงานเกี่ยวกับสื่อการออกแบบว่าวได้ ( ศ 1.1 ป.5/3) - บรรยายประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ ที่มีผลต่อชีวิตของตนเองและสังคมได้( ศ 1.1ป.5/7)
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
(ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ
แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ 1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
(ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ
แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ 1.1 ป.6/7)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ 3.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือกาชมการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
(ศ 3.2 ป.6/2)
(ศ 3.1 ม.1/3)
- ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ 3.1 ม.3/7)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พละศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
นิทรรศการสืบสายป่านงานว่าว
- นำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้
- สรุปองค์ความรู้
- สิ่งที่ดีแล้ว
- สิ่งที่ควรพัฒนา
- Mind mapping
หลังเรียน
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ ว.ว่าวแล่นลมด้วยความสนใจ (ว 8.1 ป.5/1) - วางแผนการใช้เครื่องมือต่างๆจัดนิทรรศการได้อย่างเหมาะสม ( ว 8.1 ป.5/2) - แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและสรุปสิ่งที่เรียนรู้รายสัปดาห์ได้ ( ว 8.1 ป.5/6) - นำเสนอจัดแสดงผลงานนิทรรศการสืบสายป่านงานว่าว ให้ผู้อื่นเข้าใจ |
มาตรฐาน ส 1.1
- ปฏิบัติตนตามศาสนาที่นับถือเพื่อพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
( ส1.1 ป5/7)
-
วิเคราะห์การกระทำของบุคคลที่เป็นแบบอย่างและนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเอง( ส1.1 ม1/11)
มาตรฐาน ส 3.1
- บอกวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน (ส 3.1 ป.6/3)
มาตรฐาน ส1.2
มีมารยาทของความเป็นสื่อที่ดี ปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กฎหมายกำหนด
( ส 1.2ป.5/3
|
มาตรฐาน ส 4.1
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับการนิทรรศการสืบสายป่านงานว่าวอย่างมีเหตุผล ( ส4.1 ป.5/2) |
มาตรฐาน ส 2.1
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของชุมชนผ่านทางสื่อสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ ( ส 2.1 ป.5/4)มาตรฐาน ส 2.2 วิเคราะห์สังเคราะห์ประโยชน์และโทษที่ชุมชนจะได้รับการเผยแพร่สื่อที่เราสร้างสรรค์ได้ ( ส 2.2 ป.5/3)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- อธิบายเหตุผลในการทำงาน แต่ละขั้นตอนการสร้าหนังสั้น อย่างถูกต้องตามกระบวนการ ( ง 1.1 ป.5/1) - ใช้ทักษะการจัดการ ในการทำงานในการสร้างหนังสั้น อย่างเป็นระบบ ประณีต และมีความคิดสร้างสรรค์ ( ง 1.1 ป.5/2) - มีจิตสำนึกในการ เผยแพร่ทางสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างมีคุณค่า ( ส 1.1 ป.5/4) |
มาตรฐาน พ 3.1
- สามารถแสดงภาพเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน สมมุติบทบาท ที่จะถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ ( พ 3.1 ป.5/1) - ควบคุมการเคลื่อนไหว ในเรื่องการรับแรง การใช้แรง และควบคุมสมดุลในการสร้างหนังสั้น ( พ 3.1 ป.5/3)มาตรฐาน พ 5.1 - วิเคราะห์ผลกระทบของ การรับชม รับฟังสื่อ ที่มีผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา |
มาตรฐาน ศ 1.1
- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน
(ศ 1.1 ป.5/ 2)
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก
และวรรณะสี (ศ 1.1 ป.5/3)
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ 1.1 ป.5/6) - บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ 1.1 ป.5/7)
- อธิบายหลักการจัดขนาดสัดส่วนความสมดุลในการสร้าง
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
(ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ
แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ 1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ศ 2.1
สามารถเลือกดนตรีประกอบในการใช้สร้างโฆษณา หรือหนังสั้น เพื่อสื่อถึงอารมณ์ของการแสดง( ศ 2.2ป.5/1)มาตรฐาน ศ 3.1 อธิบายประโยชน์ และโทษ ที่ได้รับจากการชมสื่อ โฆษณา ได้
( ศ 3.1ป.5/6)
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ 3.1 ม.1/3)
- ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
- เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
- เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฎศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ
(ศ 3.1 ม.2/5)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ 3.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือกาชมการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
(ศ 3.2 ป.6/2
|
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
(PBL) หน่วย: "ว่าว"
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
5 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|||
1
|
โจทย์ : สร้างแรง / เรื่องที่อยากเรียนรู้
Key Questions :
- ใน Quarter
นี้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น?
- นักเรียนจะทำอย่างไรให้กระดาษและสะนูลอยในอากาศให้ได้นานที่สุดพร้อมให้เกิดเสียง
เครื่องมือคิด Round robin
Black board share
Think pair share Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- กระดาษA4
- เชือก
- สะนู
- ถุงพลาสติก
-คลิปวีดีโอเกี่ยวกับประเพณีว่าว
จ.บุรีรัมย์
- บรรยากาศในห้องเรียน
|
- ครูและนักเรียนพูดคุยสิ่งที่นักเรียนทำในช่วงปิดเรียน
- ครูนำอุปกรณ์(กระดาษA4กับเชือก) มาให้นักเรียน
เพื่อพานักเรียนทดลอง ให้กระดาษลอยอยู่ในอากาศให้นานที่สุด
- นักเรียนทำการทดลอง และบันทึกผลการทดลอง
พร้อมทั้งวิเคราะห์ผลการทดลองร่วมกัน
- ครูนำสะนูว่าวมาให้นักเรียนทดลองแกว่ง
- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับแรงที่มากระทำต่อสะนูที่ทำให้เกิดเสียง
- ครูให้นักเรียนทดลองทำสะนูให้เกิดเสียง
- นักเรียนทำการทดลอง และบันทึกผลการทดลอง
พร้อมทั้งวิเคราะห์ผลการทดลองร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนนำผลจากการทอลอง 2 กิจกรรม มาประกอบกัน ให้โจทย์ใหม่
“นักเรียนจะทำอย่างไรให้กระดาษและสะนูลอยในอากาศให้ได้นานที่สุดพร้อมให้เกิดเสียง”
- ครูแจกอุปกรณ์(ถุงพลาสติกกับเชือก)ให้นักเรียนคนละ 1ชุด ครูให้โจทย์จะทำอย่างไรให้ถุงพลาสติกลอยอยู่ในอากาศได้นานที่สุด
- ร่วมพูดคุยเกี่ยวกับผลการทดลองที่เกิดขึ้น
- ครูเปิดคลิปวีดีโอเกี่ยวกับประเพณีว่าว จ.บุรีรัมย์
- สรุปสิ่งที่นักเรียนแต่ละคนได้เรียนรู้จากการดูคลิป
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1
ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
และบรรยาย
|
ภาระงาน
-
ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
-พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับเลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- ว่าวกระดาษ/สะนู
- ว่าวถุงพลาสติก
- สมุดบันทึกผลการทดลอง
- สรุปสิ่งที่นักเรียนแต่ละคนได้เรียนรู้จากการดูคลิป
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์1
|
ความรู้:
นักเรียนเข้าใจและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ได้รับชมได้ ทั้งสามารถให้เหตุผลเรื่องที่อยากเรียนรู้ได้ ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
|||
2
|
โจทย์ : กระบวนการออกแบบและวางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน
Quarter3 อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
-
นักเรียนจะออกแบบและวางเนื้อหา Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ?
เครื่องมือคิด :
Blackboard Share
Mind Mapping
Wall Thinking
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- คลิปวีดีโอเรื่องเล่าจากเทศกาล ตอน
มหกรรมว่าวอีสาน
และรายการกระบี่มือหนึ่ง ตอน ว่าวไทย
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
|
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอเรื่องเล่าจากเทศกาล
ตอน มหกรรมว่าวอีสาน
และรายการกระบี่มือหนึ่ง ตอน ว่าวไทย
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไรดูคลิปวีดีโอคลิปวีดีโอเรื่องเล่าจากเทศกาล
ตอน มหกรรมว่าวอีสาน
และรายการกระบี่มือหนึ่ง ตอน ว่าวไทย ?
-
นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวีดีโอคลิปวีดีโอที่ได้ดู
-
ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกันเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนรู้และเข้าใจอะไรเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
- นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน Quarter 3
อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?”
- นักเรียนแต่ละคนช่วยกันขมวดสิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้แล้วนำมาขมวดเป็นปฏิทินการเรียนรู้
- นักเรียนทุกคนระดมความคิดเพื่อทำปฏิทินการเรียนรู้
10 สัปดาห์
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ของตนเอง
ในรูปแบบ Mind
Mapping (ก่อนการเรียนรู้)
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่2
ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
และบรรยาย
|
ภาระงาน
- นักเรียนพูดคุยสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสิ่งที่ได้ดูและร่วมออกแบบวางแผนปฏิทินการเรียนรู้
- นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวีดีโอคลิปวีดีโอที่ได้ดู
ชิ้นงาน
-
เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping (ก่อนการเรียนรู้)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
2
|
ความรู้:
สามารถออกแบบวางแผนการเรียนรู้ และการทำงานตามความความสนใจได้อย่างเป็นขั้นตอน ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
|||
3
|
โจทย์ : ประวัติความเป็นมาของว่าว
แต่ละชนิด
Key Questions :
ว่าวมีประวัติความเป็นมาอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Mind Mapping
Wall Thinking
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
|
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มกลุ่มละเท่าๆกัน(8กลุ่ม กลุ่มละ3คน) เพื่อจับฉลาก เลือกประเภทของว่าว(ว่าวจุฬา, ว่าวปักเป้า,
ว่าวดุ๊ยดุ่ย, ว่าววงเดือน, ว่าวงู, ว่าวอีลุ่ม, ว่าวแอก, ว่าวนก)
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับว่าวที่แต่ละกลุ่มได้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเชื่อ
วิถีแต่ละพื้นถิ่น ในรูปแบบTimeline
ว่าวของแต่ละกลุ่ม
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับเกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์ ความเชื่อ วิถีแต่ละพื้นถิ่น ในรูปแบบTimeline
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่3
ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
และบรรยาย
|
ภาระงาน
- ทดลองวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับเกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ความเชื่อ วิถีแต่ละพื้นถิ่น ในรูปแบบ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเชื่อ
วิถีแต่ละพื้นถิ่น ในรูปแบบTimeline
ว่าวของแต่ละกลุ่ม
ชิ้นงาน
- Timeline ว่าว(ว่าวจุฬา,
ว่าวปักเป้า, ว่าวดุ๊ยดุ่ย, ว่าววงเดือน, ว่าวงู, ว่าวอีลุ่ม, ว่าวแอก, ว่าวนก)
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่3
|
ความรู้:
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม ความเชื่อของว่าวแต่ละชนิดได้ ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
|||
4-6
|
โจทย์ : ออกแบบและประดิษฐ์ว่าว
Key Questions :
- ทำไมว่าวจึงสามารถลอยได้?
-นักเรียนจะประดิษฐ์แต่ละชนิดให้ลอยอยู่บนอากาศได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Mind Mapping
Wall Thinking
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องสมุด
- internet
- อุปกรณ์ทำว่าว(ไม้ไผ่ เชือก สะนู และมีด)
- บรรยากาศในห้องเรียน
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ทำไมว่าวจึงสามารถลอยได้”
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาวิเคราะห์เกี่ยวกับการลอยได้ของว่าว
- นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาองค์ประกอบของว่าวที่จะลอยอยู่บออากาศ
(องค์ประกอบของว่าวที่จะลอยอยู่ในอากาศได้คือ
1. กระแสลมที่เคลื่อนที่ไปในแนวขนานกับผิวโลกทางใดทางหนึ่ง
อย่างสม่ำเสมอ
2. พื้นที่ให้กำลังยกหรือแรงยกได้แก่พื้นที่ของตัวว่าว
3. อุปกรณ์บังคับ ได้แก่ เชือกหรือด้ายรั้งว่าว และสายซุง ซึ่งทำหน้าที่ปรับมุมปะทะของอากาศกับพื้นที่ของตัวว่าว ทำให้เกิดแรงยกและแรงดัน)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนจะประดิษฐ์แต่ละชนิดให้ลอยอยู่บนอากาศได้อย่างไร?
- นักเรียนแต่ละคนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับจะประดิษฐ์แต่ละชนิดให้ลอยอยู่บนอากาศได้
- นักเรียนแต่ละคนเลือกและทดลองทำว่าว
- นักเรียนทดสอบนำว่าวที่ทำเสร็จไปลองเล่น
- นักเรียนนำเสนอเกี่ยวกับการทดลองทำว่าวรวมทั้งพูดคุยวิเคราะห์ปัญหา/วิธีการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงพัฒนาว่าวของตนเองอีกครั้ง
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่4,5,6
ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
และบรรยาย
|
ภาระงาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาองค์ประกอบของว่าวที่จะลอยอยู่บออากาศ
(องค์ประกอบของว่าวที่จะลอยอยู่ในอากาศ)ได้
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาวิเคราะห์เกี่ยวกับการลอยได้ของว่าว
- นักเรียนแต่ละคนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับจะประดิษฐ์แต่ละชนิดให้ลอยอยู่บนอากาศได้
- นักเรียนนำเสนอเกี่ยวกับการทดลองทำว่าวรวมทั้งพูดคุยวิเคราะห์ปัญหา/วิธีการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงพัฒนาว่าวของตนเองอีกครั้ง
ชิ้นงาน
- ว่าวแต่ละชนิด
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
(บันทึกผลการทดลอง)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที 4,5,6
|
ความรู้:
เข้าใจและสามารถอธิบายองค์ประกอบของว่าวที่จะลอยอยู่ในอากาศ แรงที่กระทำต่อว่าวได้ ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
|||
7
|
โจทย์ :
เรียนรู้วิธีการทำว่าวและสะนู จากวิทยากร
Key Questions :
“นักเรียนคิดว่าว่าวมีวิธีการทำอย่างไร?”
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Mind Mapping
Wall Thinking
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- นักเรียน
- ครู
- วิทยากร
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- อุปกรณ์ทำว่าว(ไม้ไผ่ เชือก สะนู และมีด)
- บรรยากาศในห้องเรียน
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมา
- แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับว่าว
และสรุปความเข้าใจในรูปแบบต่างๆ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าว่าวมีวิธีการทำอย่างไร?”
- เชิญวิทยากรแนะนำและสาธิตวิธีการทำว่าวแบบต่างๆ
( ว่าวจุฬาว่าวสองห้อง ว่าวอีลุ้ม และสะนู )
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบและลงมือปฏิบัติทำว่าวของตนเอง
- นักเรียนแต่ละคนนำว่าวของตนเอง มาเล่นวิ่งว่าว
พร้อมกับนำเสนอให้น้องๆที่โรงเรียนได้รู้จักว่าวมากขึ้น
- นักเรียนแต่ละคนถอดบทเรียนเรียนรู้วิธีการทำว่าวและสะนู
จากวิทยากร
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมที่ได้ทำ
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่7
ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
และบรรยาย
|
ภาระงาน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับว่าว
และสรุปความเข้าใจในรูปแบบต่างๆ
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบและลงมือปฏิบัติทำว่าวของตนเอง
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมที่ได้ทำ
ชิ้นงาน
- ว่าวจุฬาว่าวสองห้อง ว่าวอีลุ้ม และสะนู
- ถอดบทเรียน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่7
|
ความรู้:
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการทำว่าวแบบต่างๆ( ว่าวจุฬาว่าวสองห้อง ว่าวอีลุ้ม และสะนู )รวมทั้งสามารถออกแบบและลงมือปฏิบัติทำว่าวของตนเอง
ได้
ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
|||
8-9
|
โจทย์ :
นิทรรศการล้อมวงจี่ข้าว
นอนดูดาว ฟังเสียงสะนู
Key Questions :
นักเรียนจะนำเสนอเผยแพร่นิทรรศการว่าวให้ผู้อื่นได้เรียนรู้และเข้าใจได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด Round robin
Black board share
Think pair share Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์ - วิทยากร(ครูอ้น อ.นฤมล และครูวุฒิ)
- บรรยากาศในโรงเรียน
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการนำเสนอนิทรรศการว่าวในวันที่ 23 ธันวาคม 2559
- นักเรียนแต่ละคนร่วมจัดนิทรรศการวิ่งว่าว
ล้อมวงจี้ข้าว นอนดูดาว ฟังเสียงสะนู
- นักแบ่งกลุ่มเพื่อออกแบบ จัดฐานกิจกรรม
4 ฐาน
ฐานที่1 : ประวัติความเป็นมา / ประเภท
ฐานที่2 : พาทำว่าว
ฐานที่3 : พาทำสะนูว่าว
ฐานที่4 : เล่นว่าว
ฐานที่5 :มุมศิลป์จากว่าว
- กิจกรรมในตอนเย็น จี่ข้าว
นอนดูดาว ฟังเสียงสะนูว่าว
- เชิญวิทยากร(ครูอ้น อ.นฤมล และครูวุฒิ)
มาร่วมวงสนทนาเกี่ยวกับว่าว
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับนิทรรศการว่าว
-นักเรียนแต่ละคนถอดบทเรียนจากกิจกรรมค้างแรมกิจกรรมชมว่าวที่โรงเรียนฯ
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่8,9
ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
และบรรยาย
|
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการนำเสนอนิทรรศการว่าว
- นักแบ่งกลุ่มเพื่อออกแบบ จัดฐานกิจกรรม
4 ฐาน
ฐานที่1 : ประวัติความเป็นมา / ประเภท
ฐานที่2 : พาทำว่าว
ฐานที่3 : พาทำสะนูว่าว
ฐานที่4 : เล่นว่าว
ฐานที่5 :มุมศิลป์จากว่าว
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับนิทรรศการว่าว
ชิ้นงาน
- นิทรรศการว่าว
-ถอดบทเรียนจากกิจกรรมค้างแรมกิจกรรมชมว่าวที่โรงเรียนฯ
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่8,9
|
ความรู้:
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายนำเสนอเผยแพร่นิทรรศการว่าวให้ผู้อื่นได้เรียนรู้และเข้าใจได้ ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
|||
10
|
โจทย์ :การสรุป/ถ่ายทอดและนำเสนอหน่วยที่ได้เรียนรู้
Key Questions :
-
นักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร ด้วยวิธีการใดบ้าง?
-
การเตรียมนำเสนอผลงานของนักเรียน เกิดปัญหาและอุปสรรคหรือไม่ เพราะเหตุใด
และมีวิธีแก้ไขอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Brainstorms
Mind Mapping
Show and Share
Blackboard Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ผลงานต่าง ๆ
ที่นักเรียนนำเสนอ
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
|
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง ในหน่วยการเรียนรู้?”
- นักเรียนนำเสนอ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ในประเด็นคำถาม ผ่านเครื่องมือ (Round Robin)
- นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เป็นการสรุปองค์ความรู้ความเข้าใจใน
Quarter3 ในรูปแบบ mind
mapping
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
“นักเรียนคิดว่าการเรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter นักเรียนสามารถตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้หรือไม่
เพราะเหตุใด?”
-
นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“จากการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้นักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร
ด้วยวิธีการใดบ้าง?”
-
นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสามารถและความถนัดในการถ่ายทอด/เผยแพร่องค์ความรู้ความเข้าใจ
เช่น การแสดงละคร การนำเสนอด้วยคำพูด การนำเสนอด้วยภาพ เป็นต้น
- นักเรียนลงมือฝึกซ้อมในแต่ละกลุ่มตามที่ได้จัดแบ่งไว้ในข้างต้น
-
ร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยน
สิ่งที่ต้องเพิ่มเติมและสิ่งที่ดีแล้วจากการซักซ้อมการนำเสนอ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
“นักเรียนจะทำอย่างไรให้การนำเสนอองค์ความรู้ให้น่าสนใจและผู้ชมได้รับประโยชน์มากที่สุด”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “จากการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง
และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม?”
-
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำได้ดีแล้ว
และอะไรที่ตนเองต้องพัฒนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเรียนรู้
-
ครูและนักเรียนร่วมทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาและแลกเปลี่ยน คำถาม
ข้อสงสัยจากสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวอีกครั้ง
-
นักเรียนลงมือประเมินตนเองลงในกระดาษ A4
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10
ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
และบรรยาย
|
ภาระงาน
พูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการฝึกซ้อมการสรุป/ถ่ายทอดและนำเสนอหน่วยที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ
ชิ้นงาน
-
สรุปองค์ความรู้ในรูปแบบ mind mapping (หลังเรียน)
-
เขียนสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
10
|
ความรู้:
นักเรียนสามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้ ทักษะ :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะ ICT
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |